วันพุธที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2562

แบบฝึกหัดท้ายหน่วย 3 1. วงจรพัฒนาระบบ มีความสำคัญอย่างไร ตอบ เพื่อที่จะช่วยให้การพัฒนาระบบงานทำได้ง่ายขึ้น 2. วงจรพัฒนาระบบแบ่งออกเป็นกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง ตอบ วงจรการพัฒนาระบบจะแบ่งออกเป็น 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การกำหนดปัญหา (Problem Definition) 2. การศึกษาความเป็นไปได้(Feasibility Study) 3. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 4. การออกแบบระบบ (System Design) 5. การสร้างระบบ (System Construction) 6. การติดตั้งระบบ SDLC (System Implementation) 7. การประเมินและการบ ารุงรักษาระบบ ( Post – implementation reviews and maintenance) 3. ให้อธิบายขั้นตอนการตระหนักถึงปัญหาในระบบ พร้อมยกตัวอย่าง 1 ปัญหา ตอบ 1 เป้าหมายในการทำโครงการทั้งหมด ซึ่งจะเป็นทิศทางของการทำโครงการ 2 ขอบเขตของโครงการในการกำหนดปัญหาหรือเข้าใจปัญหา จะต้องกำหนดกิจกรรมของ ระบบงานที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ กำหนดส่วนของระบบงานที่อยู่นอกเหนือขอบเขตการทำ โครงการรวมทั้งข้อจำกัดเงื่อนไขต่างๆ ของการทำโครงการ 3 จำนวนเงินทุนที่ต้องใช้ในการจัดทำโครงการ รวมทั้งวันเริ่มต้นและสิ้นสุดของการทำงาน ในแต่ละขั้นตอนอย่างคร่าวๆ และจำนวนบุคลากรที่คาดว่าจะต้องใช้ในแต่ละขั้นตอนด้วย 4. ให้อธิบายขั้นตอนการศึกษาความเป็นไปได้ของการแก้ปัญหาในข้อ 3 ตอบ ต้นไม้ที่ปลูกในกระถางต้องการพื้นที่มากขึ้น เพื่อให้ต้นไม้สามรถเจริญเติบโตต่อไปได้ กระถาง ใหม่มีขนาดใหญ่ขึ้นสามารถวางกระถางไว้ในตำแหน่งเดิม 5. ให้อธิบายขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา ในข้อ 3 โดยแยกออกมาทั้งระบบเดิม และ ระบบใหม่มีข้อดี และข้อเสียอย่างไร ตอบ ระบบเดิม ข้อดี ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ข้อเสีย ต้นไม้ในกระถางเดิม เหี่ยว ใบไม้ร่วงและรากโผล่ พ้นกระถาง ระบบใหม่ ข้อดี เปลี่ยนกระถางใหม่ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อให้ต้นไม้สามารถเจริญเติบโตได้ดี 6. ให้บอกความหมายของการออกแบบการแก้ปัญหาในข้อ 3 ตอบ 1.เลือกซื้อกระถางใบใหม่ 2.เตรียมปุ๋ยและดินเพื่อปลูก 3.อุปกรณ์ที่ต้องใช้ เสียม น้ำ 7. ให้บอกวิธีการพัฒนาแนวทางแก้ปัญหาในข้อ 3 ตอบ 1.ใช้น้ำรถในกระถางต้นไม้จนเปียกชุ่ม 2.ใช้เสียมแซะต้นไม้ออกจากกระถางไม้ 3.นำดินใหม่และปุ๋ยบางส่วนลงในกระถางใหม่ 4.นำต้นไม้ลงในกระถางใหม่ 5.นำดินและปุ๋ยใส่ให้เต็มกระถาง 6.นำกระถางจัดวางในตำแหน่ง 7.รดน้ำอีกครั้ง 8. ให้บอกความจำเป็นในการดูแลและรักษาระบบ ตอบ 1.ศึกษาความสามารถใช้งานตรงตามวัตถุประสงฆ์สนองต่อความต้องการของผู้ใช้ 2.ศึกษาผู้ใช้ความพึงพอใจและยอมรับการทำงานกับระบบใหม่มากน้อยเพียงใด 3.ศึกษาว่ามีปัญหาอุปสรรคอย่างไร โดยต้องกลับไปศึกษาวัตถุประสงฆ์หรือเป้าหมาของ โครงการได้วางไว้ 4.การประเมินผลการทำงานของระบบมักจะกำหนดไว้เป็นแนวทาง 9. ให้ยกตัวอย่าง ระบบการปฏิบัติงานบ้าน หรือ กิจวัตรประจ าวันมา 1 กิจกรรม พร้อมเขียนเป็นวงจรพัฒนาระบบทั้ง 7 ขั้น ( ตามตัวอย่าง 1 ) ตอบ ปัญหา 1.เสื้อผ้าไหม้ 2.เสื้อผ้าไม่เรียบ ศึกษาความเป็นไปได้ 1.รวบรวมเสื้อผ้า 2.คาดว่าเสื้อผ้าจะไม่ไหม้ วิเคราะห์ 1.รีดแบบใช้ไฟธรรมดา 2.ต้องการให้เสื้อผ้าเรียบ ออกแบบ 1.เลือกซื้อเตารีดระบบไอน้ำ พัฒนาระบบ 1.เตรียมเสื้อผ้า 2.รีดเสื้อผ้า ติดตั้งระบบ 1.สามารถปรับความร้อนตามที่เราต้องการได้ การบำรุงรักษา 1.ตากเสื้อผ้าในแดดในอุณหภูมิที่เหมาะสม 10.ให้ยกตัวอย่าง ระบบการตัดสินใจซื้อสินค้า / เครื่องมือ เครื่องใช้ในการปฏิบัติงาน ของนักศึกษา โดยเขียนเป็นวงจรการพัฒนาระบบ ในขั้นที่ 1 – 7 ( ตามตัวอย่าง 2) ตอบ ปัญหา 1.ตระหนักว่ามีปัญหาในระบบ ศึกษาความเป็นไปได้ 1.รวบรวมข้อมูล 2.คาดคะเนค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์ และอื่นๆ วิเคราะห์ 1.ศึกษาระบบเดิม 2. ก าหนดความต้องการของระบบ 3. แผนภาพระบบเก่าและระบบใหม่ 4. สร้างระบบทดลองของระบบใหม่ ออกแบบ 1.เลือกซื้อเครื่องมือ/เครื่องใช้การปฏิบัติงาน 2. คำนึงถึงความปลอดภัยของระบบ พัฒนาระบบ 1.เตรียมอุปกรณ์ 2. เขียนโปรแกรม 3. ทดสอบโปรแกรม 4.เตรียมคู่มือการใช้ ติดตั้งระบบ 1.นำอุปกรณ์มาติดตั้งโปรแกรม 2.เริ่มใช้งานระบบใหม่ 3.กรอกข้อมูลและทดลองใช้งาน การบำรุงรักษา 1.เข้าใจปัญหา 2. ศึกษาสิ่งที่จะต้องแก้ไข 3. ตัดสินใจว่าจะแก้ไขหรือไม่ 4. แก้ไขเอกสาร คู่มือ 5. แก้ไขโปรแกรม 6. ทดสอบโปรแกรม 7. ใช้งานระบบที่แก้ไขแล้ว

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 1.สัญลักษณ์ของแผนภาพการไหลข้อมูลมี......4.....แบบ คือ             1.1. วงกลม แทน   การประมวลผล ( Process)    ...